จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. บทเพลงที่นิยมนำมาบรรเลงและขับร้องหมู่น่าจะเป็นเพลงใดต่อไปนี้
เพลงแสนคำนึง เถา |
2. เพลงพญาโศกสามชั้น |
3. เพลงพญารำพึงสามชั้น |
4. เพลงแขกมอญ เถา |
2. การขับร้องหมู่ สิ่งที่สำคัญคือข้อใด
1. เสียงโดนเด่นของนักร้องแต่ละคน |
2. ความสามารถในระดับสูงของนักร้อง |
ความพร้อมเพรียงในการขับร้องบทเพลง |
4. ถูกทั้งข้อ ก และ ข้อ ข |
3. ความหมายของการบรรเลงหมู่ข้อใดถูกต้องมากที่สุด
1. กานต์บรรเลงระนาดโดยมีฉิ่งตีไปพร้อมๆกัน |
2. ก้องบรรเลงขิมโดยมีเครื่องประกอบจังหวะหลายชิ้น |
แก้วได้เข้าร่วมการบรรเลงวงมหาดุริยางค์ไทยที่โรงละครแห่งชาติ |
4. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข |
4. การบรรเลงหมู่ต้องคำนึงถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
1. ทางเพลงที่โลดโผน |
2. คุณภาพของเครื่องดนตรี |
ความพร้อมเพรียงของนักดนตรี |
4. ความสามารถในระดับสูงของนักดนตรี |
5. วงปี่พาทย์เครื่องคู่เกิดในสมัยใด
1. ร. 1 |
2. ร. 2 |
ร. 3 |
4. ร. 4 |
6. วงขับไม้เกิดขึ้นสมัยใด
สุโขทัย |
2. อยุธยา |
3. ธนบุรี |
4. รัตนโกสินทร์ |
7. ข้อใดไม่ใช่เครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์เครื่องห้า ของสมัยสุโขทัย
1. ปี่ใน |
ระนาด |
3. ฆ้องวง |
4. ตะโพน |
8. วงเครื่องสายไทยเกิดเครื่องดนตรีสมบูรณ์ในสมัยใด
1. สุโขทัย |
อยุธยา |
3. ธนบุรี |
4. รัตนโกสินทร์ |
9. ในสมัยรัชกาลที่ 1 ดนตรีเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไร
1. เกิดการประสมวงกับชาติตะวันตก |
2. มีวงดนตรีชนิดใหม่เกิดขึ้น |
เพิ่มกลองทัดเข้าผสมกันเป็นสองลูก |
4. เกิดการแสดงชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “พิณพาทย์” |
10. ระนาดเอกเหล็กได้แบบอย่างมาจากเครื่องดนตรีใด
1. กล่องดนตรี |
หีบเพลงฝรั่ง |
3. ไวโอลิน |
4. วีนา |
11. วงปี่พาทย์เสภาเกิดขึ้นในสมัยใด
รัชกาลที่ 2 |
2. รัชกาลที่ 4 |
3. รัชกาลที่ 6 |
4. รัชกาลที่ 8 |
12. กลองสองหน้า อยู่ในวงดนตรีใดของไทย
1. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง |
2. วงปี่พาทย์นางหงส์ |
วงปี่พาทย์เสภา |
4. วงปี่พาทย์ไม้นวม |
13. ซอสามสายคู่พระหัตถ์ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีชื่อว่าอะไร
1. ซอวายุพาด |
ซอสายฟ้าฟาด |
3. ซออสุนีบาต |
4. ซอถิ่นธรณี |
14. วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด
1. รัชกาลที่ 3 |
รัชกาลที่ 5 |
3. รัชกาลที่ 7 |
4. รัชกาลที่ 9 |
15. ใครเป็นผู้ผสมวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์
1. สมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยะวงศ์ |
2. เจ้าพระยารามราฆพ |
3. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ |
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ |
16. ท่านผู้ใดเป็นผู้แต่งเพลง เขมรลออองค์
1. รัชกาลที่ 1 |
2. รัชกาลที่ 3 |
3. รัชกาลที่ 5 |
รัชกาลที่ 7 |
17. การเรียนดนตรีมีอิทธิพลต่อสภาพจิตใจอย่างไร
ทำให้มีสมาธิ |
2. ทำให้มีบุคลิกภาพดี |
3. ทำให้เป็นผู้ที่น่านับถือ |
4. ทำให้มีกำลังกายที่ดี |
18. คำกล่าวที่ว่า “ดนตรีเริ่มกลายเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกภายในบ้าน ในบ้านของขุนนาง สำหรับเจ้านายชั้นสูง ใช้บรรเลงในห้องโถงที่ไม่ใหญ่โตนัก ซึ่งมีจำนวนผู้ฟังไม่มาก ในบางครั้งบางคราวก็บรรเลงในสวนหย่อม สำหรับงานเลี้ยง งานรื่นเริงต่างๆ” หมายถึงยุคใดของดนตรีตะวันตก
1. ยุคกลาง |
ยุคบาโรก |
3. ยุดโรแมนติก |
4. ยุกคลาสสิก |
19. ดนตรีมีส่วนช่วยทางการแพทย์อย่างไร
1. ช่วยให้ไม่เงียบ |
ช่วยในการบำบัดรักษาผู้ป่วย |
3. เป็นกิจกรรมยามว่างของแพทย์และพยาบาล |
4. ถูกทุกข้อ |
20. ดนตรีมีบทบาทต่อสังคมอย่างไร
1. ประกอบพิธีกรรม |
2. ทำให้คนสังคมเกิดความสุข |
3. เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนในสังคม |
ถูกทุกข้อ |


|